วันพุธที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2552

การจัดการกับอาการเจ็บหน้าอก







การวางแผนจำหน่ายผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจโคโรนารี่
การจัดการกับอาการเจ็บหน้าอก

1. อาการเจ็บหน้าอกเกี่ยวข้องกับโรคหลอดเลือดหัวใจโคโรนารี่อย่างไร
อาการเจ็บหน้าอก เป็นอาการแสดงถึงภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดไปเลี้ยง สาเหตุเกิดจากการตีบตันของหลอดเลือดที่มาเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจ ควรได้รับการแก้ไขอย่างรวดเร็ว เพื่อให้เลือดสามารถไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจได้เพียงพอ และลดการขาดเลือดของกล้ามเนื้อหัวใจ
2. ทำไมต้องรีบไข หรือจัดการกับอาการเจ็บหน้าอก ถ้าปล่อยให้อาการเจ็บหน้าอกดำเนินไปเรื่อยๆ จะส่งผลให้กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดไปเลี้ยง เกิดการบาดเจ็บของกล้ามเนื้อหัวใจ และเกิดกล้ามเนื้อหัวใจตายในที่สุด


3. อาการเจ็บหน้าอกในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ มีลักษณะอย่างไร
โดยทั่วไปแล้วลักษณะอาการเจ็บหน้าอกในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจตีบขึ้นอยู่กับความรุนแรงของโรค ดังต่อไปนี้
- อาการเจ็บหน้าอกชนิดคงที่ ส่วนใหญ่อาการเจ็บหน้าอกมักจะไม่รุนแรง เป็นเพียงชั่วขณะและมักเกิดในขณะที่ทำกิจกรรม
- เจ็บหน้าอกชนิดไม่คงที่ อาการเจ็บหน้าอกชนิดนี้มีความรุนแรงมากกว่าชนิดคงที่ โดยทั่วไปแล้วมักมีอาการเจ็บหน้าอกรุนแรงปานกลางเกิดเป็นพักๆ แต่เป็นถี่มากขึ้นเกิดขึ้นทั้งขณะพักและมีกิจกรรม
- อาการเจ็บหน้าอกแบบกล้ามเนื้อหัวใจตาย อาการเจ็บหน้าอกมักเป็นนานมากกว่า 30 นาที เนื่องจากมีการตีบตันของหลอดเลือดแบบสมบูรณ์ หรืออาจบอกได้ว่าตีบตัน 100% อาการเจ็บหน้าอกชนิดนี้มักมีอาการอย่างอื่นร่วมด้วย เช่น เหงื่อแตก หน้ามืด เป็นลม คลื่นไส้ อาเจียน เหนื่อย ใจสั่น เป็นต้น
อย่าลืม!!! สังเกตว่า ถ้าอาการเจ็บหน้าอกที่มีสาเหตุจากหลอดเลือดหัวใจตีบแคบลง และทำให้หัวใจขาดเลือดเพียงชั่วขณะ ผู้ป่วยมักมีอาการเจ็บหน้าอกไม่นาน ซึ่งส่วนใหญ่จะพบว่าเจ็บหน้าอกประมาณ 5-15 นาที แล้วอาการเจ็บหน้าอกจะดีขึ้นถ้าได้พักหรืออมยาใต้ลิ้น



ลักษณะอาการเจ็บหน้าอก
- ระยะเวลาเจ็บหน้าอกจะนานมากกว่า 30 นาที หรือบางทีเป็นชั่วโมง
- ลักษณะการเจ็บหน้าอกจะคล้ายมีของหนักมาทับ ถูกบีบรัด รู้สึกหายใจไม่ออก
- ตำแหน่งที่เจ็บ อาจเป็นที่หน้าอกด้านซ้าย หรือร้าวไม่ยัง อวัยวะอื่น ได้แก่ บริเวณไหล่ คอ กราม ฟันและแขน
- อาการเจ็บมักไม่สัมพันธ์กับการออกกำลัง อยู่เฉย ๆ ก็อาจเกิด เจ็บหน้าอกได้
- อาจมีอาการอื่นร่วมด้วยได้แก่หายใจหอบ เหนื่อย มีเหงื่อออก คลื่นไส้อาเจียน เป็นลม หมดแรงหัวใจเต้นเร็วหรือเต้น ผิดจังหวะ
- สำหรับผู้สูงอายุอาการที่เกิดร่วมกับอาการเจ็บหน้าอก ได้แก่ อาการหายใจลำบาก คลื่นไส้อาเจียน เวียนศีรษะ ความดันโลหิตต่ำ เหงื่อออกมากสับสนหมดสติอ่อนเพลีย เหนื่อยหอบ หัวใจเต้นแรงเร็ว ปอดบวมน้ำหัวใจล้มเหลว





วิธีการจัดการกับอาการเจ็บหน้าอกเมื่อท่านมีอาการเจ็บหน้าอกควรทำอย่างไร
นั่งพักหรือนอนพัก
- อมยาใต้ลิ้น ผู้ที่เป็นโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายควรพกยาอมใต้ลิ้นติดตัวไว้เสมออย่างน้อย 3-5 เม็ด เมื่อมีอาการเจ็บหน้าอกให้อมยาใต้ลิ้นทันที 1 เม็ดและอมซ้ำได้อีก 2 เม็ดครั้งละ 1 เม็ดโดยห่างกัน 5 นาที แต่ถ้าอาการไม่ทุเลาลง ควรรีบพบแพทย์
- ในขณะที่อมยาควรนั่งลงหรือนอนพัก เพราะยาจะทำให้หลอดเลือดมีการขยายตัวอาจจะทำให้มีอาการหน้ามืดเป็นลมได้
- ในขณะอมยา ควรมีการสังเกตยาที่มีคุณภาพจะรู้สึกซ่าลิ้นไม่ควรเก็บยานานเกิน 2 เดือนและควรเก็บในขวดสีน้ำตาลไม่ให้ถูกแสงแดด
- ทำจิตใจให้สบาย คลายเครียด ไม่โกรธ ไม่กังวล


วิธีการใช้ยาเพื่อลดอาการเจ็บแน่นหน้าอก
ยาที่นิยมใช้ คือ ไอซอดิล (Isordil) ยานี้จะมีผลขยายหลอดเลือดดำทั่วร่างกายและหลอดเลือดหัวใจโคโรนารีโดยช่วยลดอาการเจ็บหน้าอกจากกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดได้
คำแนะนำในขณะใช้ยา
ยาอมใต้ลิ้น
- จะใช้ในกรณีที่มีอาการเจ็บแน่นหน้าอกยาจะออกฤทธิ์ลดอาการเจ็บหน้าอกได้เร็วโดยการอมยาใต้ลิ้น ครั้งละ 1 ม็ดหากภายใน 5 นาทีอาการไม่ดีขึ้นอมซ้ำได้ครั้งละ 1 เม็ดกรณีอมยาติดต่อกันเกิน 3 เม็ดแล้วอาการไม่ดีขึ้นควรรีบไปโรงพยาบาล
- ขณะอมยาควรนั่งพักหรือนอนพักเนื่องจากยามีฤทธิ์ในการขยายหลอดเลือดอาจทำให้ความดันโลหิตต่ำได้ เกิดอาการวิงเวียนศีรษะ หน้ามืด คลื่นไส้ อาเจียนหรือปวดศีรษะได้
- วิธีการเก็บรักษายา ควรเก็บในภาชนะที่ทึบแสงเนื่องจากแสงสว่างและความชื้นจะส่งผลให้ยาเสื่อมคุณภาพได้
- ถ้าอมยาแล้วไม่ซ่าเหมือนเดิมไม่ควรใช้ยานั้นอีกเนื่องจากยาเสื่อมคุณภาพ
- รพกพายาอมใต้ลิ้นติดตัวไว้ตลอดเวลา ประมาณ 3-5 เม็ด























































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































การวางแผนจำหน่ายผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจโคโรนารี่
การจัดการกับอากการเจ็บหน้าอก
1. อาการเจ็บหน้าอกเกี่ยวข้องกับโรคหลอดเลือดหัวใจโคโรนารี่อย่างไร
อาการเจ็บหน้าอก เป็นอาการแสดงถึงภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดไปเลี้ยง สาเหตุเกิดจากการตีบตันของหลอดเลือดที่มาเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจ ควรได้รับการแก้ไขอย่างรวดเร็ว เพื่อให้เลือดสามารถไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจได้เพียงพอ และลดการขาดเลือดของกล้ามเนื้อหัวใจ
2. ทำไมต้องรีบไข หรือจัดการกับอาการเจ็บหน้าอก
ถ้าปล่อยให้อาการเจ็บหน้าอกดำเนินไปเรื่อยๆ จะส่งผลให้กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดไปเลี้ยง เกิดการบาดเจ็บของกล้ามเนื้อหัวใจ และเกิดกล้ามเนื้อหัวใจตายในที่สุด
3. อาการเจ็บหน้าอกในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ มีลักษณะอย่างไร
โดยทั่วไปแล้วลักษณะอาการเจ็บหน้าอกในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจตีบขึ้นอยู่กับความรุนแรงของโรค ดังต่อไปนี้
- อาการเจ็บหน้าอกชนิดคงที่ ส่วนใหญ่อาการเจ็บหน้าอกมักจะไม่รุนแรง เป็นเพียงชั่วขณะและมักเกิดในขณะที่ทำกิจกรรม
- อาการเจ็บหน้าอกชนิดไม่คงที่ อาการเจ็บหน้าอกชนิดนี้มีความรุนแรงมากกว่าชนิดคงที่ โดยทั่วไปแล้วมักมีอาการเจ็บหน้าอกรุนแรงปานกลางเกิดเป็นพักๆ แต่เป็นถี่มากขึ้นเกิดขึ้นทั้งขณะพักและมีกิจกรรม
- อาการเจ็บหน้าอกแบบกล้ามเนื้อหัวใจตาย อาการเจ็บหน้าอกมักเป็นนานมากกว่า 30 นาที เนื่องจากมีการตีบตันของหลอดเลือดแบบสมบูรณ์ หรืออาจบอกได้ว่าตีบตัน 100% อาการเจ็บหน้าอกชนิดนี้มักมีอาการอย่างอื่นร่วมด้วย เช่น เหงื่อแตก หน้ามืด เป็นลม คลื่นไส้ อาเจียน เหนื่อย ใจสั่น เป็นต้น
อย่าลืม!!! สังเกตว่า ถ้าอาการเจ็บหน้าอกที่มีสาเหตุจากหลอดเลือดหัวใจตีบแคบลง และทำให้หัวใจขาดเลือดเพียงชั่วขณะ ผู้ป่วยมักมีอาการเจ็บหน้าอกไม่นาน ซึ่งส่วนใหญ่จะพบว่าเจ็บหน้าอกประมาณ 5-15 นาที แล้วอาการเจ็บหน้าอกจะดีขึ้นถ้าได้พักหรืออมยาใต้ลิ้น
ลักษณะอาการเจ็บหน้าอก
- ระยะเวลาเจ็บหน้าอกจะนานมากกว่า 30 นาที หรือบางทีเป็นชั่วโมง
- ลักษณะการเจ็บหน้าอกจะคล้ายมีของหนักมาทับ ถูกบีบรัด รู้สึกหายใจไม่ออก
- ตำแหน่งที่เจ็บ อาจเป็นที่หน้าอกด้านซ้าย หรือร้าวไม่ยัง อวัยวะอื่น ได้แก่ บริเวณไหล่ คอ กราม ฟันและแขน
- อาการเจ็บมักไม่สัมพันธ์กับการออกกำลัง อยู่เฉย ๆ ก็อาจเกิด เจ็บหน้าอกได้
- อาจมีอาการอื่นร่วมด้วยได้แก่หายใจหอบ เหนื่อย มีเหงื่อออก คลื่นไส้อาเจียน เป็นลม หมดแรงหัวใจเต้นเร็วหรือเต้น ผิดจังหวะ












































































































































































































































































































































































































































































































































- สำหรับผู้สูงอายุอาการที่เกิดร่วมกับอาการเจ็บหน้าอก ได้แก่ อาการหายใจลำบาก คลื่นไส้อาเจียน เวียนศีรษะ ความดันโลหิตต่ำ เหงื่อออกมากสับสนหมดสติอ่อนเพลีย เหนื่อยหอบ หัวใจเต้นแรงเร็ว ปอดบวมน้ำหัวใจล้มเหลว
วิธีการจัดการกับอาการเจ็บหน้าอกเมื่อท่านมีอาการเจ็บหน้าอกควรทำอย่างไร
นั่งพักหรือนอนพัก
- อมยาใต้ลิ้น ผู้ที่เป็นโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายควรพกยาอมใต้ลิ้นติดตัวไว้เสมออย่างน้อย 3-5 เม็ด เมื่อมีอาการเจ็บหน้าอกให้อมยาใต้ลิ้นทันที 1 เม็ดและอมซ้ำได้อีก 2 เม็ดครั้งละ 1 เม็ดโดยห่างกัน 5 นาที แต่ถ้าอาการไม่ทุเลาลง ควรรีบพบแพทย์
- ในขณะที่อมยาควรนั่งลงหรือนอนพัก เพราะยาจะทำให้หลอดเลือดมีการขยายตัวอาจจะทำให้มีอาการหน้ามืดเป็นลมได้
- ในขณะอมยา ควรมีการสังเกตยาที่มีคุณภาพจะรู้สึกซ่าลิ้นไม่ควรเก็บยานานเกิน 2 เดือนและควรเก็บในขวดสีน้ำตาลไม่ให้ถูกแสงแดด
- ทำจิตใจให้สบาย คลายเครียด ไม่โกรธ ไม่กังวล
วิธีการใช้ยาเพื่อลดอาการเจ็บแน่นหน้าอก
ยาที่นิยมใช้ คือ ไอซอดิล (Isordil) ยานี้จะมีผลขยายหลอดเลือดดำทั่วร่างกายและหลอดเลือดหัวใจโคโรนารีโดยช่วยลดอาการเจ็บหน้าอกจากกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดได้
คำแนะนำในขณะใช้ยา
ยาอมใต้ลิ้น
- จะใช้ในกรณีที่มีอาการเจ็บแน่นหน้าอกยาจะออกฤทธิ์ลดอาการเจ็บหน้าอกได้เร็วโดยการอมยาใต้ลิ้น ครั้งละ 1 ม็ดหากภายใน 5 นาทีอาการไม่ดีขึ้นอมซ้ำได้ครั้งละ 1 เม็ดกรณีอมยาติดต่อกันเกิน 3 เม็ดแล้วอาการไม่ดีขึ้นควรรีบไปโรงพยาบาล
- ขณะอมยาควรนั่งพักหรือนอนพักเนื่องจากยามีฤทธิ์ในการขยายหลอดเลือดอาจทำให้ความดันโลหิตต่ำได้ เกิดอาการวิงเวียนศีรษะ หน้ามืด คลื่นไส้ อาเจียนหรือปวดศีรษะได้
- วิธีการเก็บรักษายา ควรเก็บในภาชนะที่ทึบแสงเนื่องจากแสงสว่างและความชื้นจะส่งผลให้ยาเสื่อมคุณภาพได้
- ถ้าอมยาแล้วไม่ซ่าเหมือนเดิมไม่ควรใช้ยานั้นอีกเนื่องจากยาเสื่อมคุณภาพ
- ควรพกพายาอมใต้ลิ้นติดตัวไว้ตลอดเวลา ประมาณ 3-5 เม็ด



















































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































2 ความคิดเห็น:

STROKE กล่าวว่า...

ตัวหนังสือเล็กเกินไป ควรจัดแยกหัวข้อที่สำคัญให้เห็นชัดเจนขึ้น โดยเฉพาะตามชื่อเรื่อง การจัดการการเจ็บหน้าอก ว่าทำอย่างไร

อุไรวรรณ ศรีดามา กล่าวว่า...

หัวข้อน่าสนใจมาก แต่รูปภาพไม่สัมพันธ์กับเนื้อหา และควรลบที่ว่างในบทความออกเพื่อให้สะดวกในการอ่าน